#Space and astronomy

10 เหตุการณ์ดาราศาสตร์ที่น่าจับตามองในปี 2025

ปี 2025 กำลังจะกลายเป็นอีกหนึ่งหน้าประวัติศาสตร์ของผู้หลงใหลในดาราศาสตร์ ด้วยเหตุการณ์ทางฟากฟ้าที่จะพาเราไปสัมผัสความงดงามและความลึกลับของเอกภพอีกครั้ง เตรียมกล้องโทรทรรศน์และหัวใจให้พร้อม และนี่คือ “10 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ที่ต้องจับตาในปี 2025” 1. ฝนดาวตกควอดรานติด Quadrantid meteor shower (3-4 มกราคม)เปิดปีด้วยหนึ่งในฝนดาวตกที่งดงามที่สุด ควอดรานติดมักมีอัตราดาวตกสูงถึง 200 ดวงต่อชั่วโมง โดยเฉพาะในซีกโลกเหนือ
#Space and astronomy

หลุมดำหลับใหลในจักรวาลยุคเริ่มต้น: การค้นพบใหม่จากกล้อง JWST

คุณเคยจินตนาการไหมว่าในจักรวาลที่แสนกว้างใหญ่ไพศาล มี “สัตว์ประหลาด” แห่งเอกภพที่เราไม่เคยเห็นแฝงตัวอยู่? ล่าสุดกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ (James Webb Space Telescope – JWST) ได้ค้นพบหลุมดำมวลมหาศาลในยุคเริ่มต้นของจักรวาลที่อยู่ในสถานะ “หลับใหล” ซึ่งเป็นการค้นพบที่น่าตื่นเต้นและท้าทายต่อความเข้าใจเดิมของมนุษย์เกี่ยวกับหลุมดำและเอกภพ (ตีพิมพ์ใน วารสาร Nature 18 ธันวาคม
#Physics #Space and astronomy

นักฟิสิกส์คิดภาพใหม่เกี่ยวกับ “สสารมืด”

อาจมีอนุภาคใหม่ พลังงานใหม่ และแม้แต่ “บิ๊กแบงมืด” (แต่เรื่องนี้ยังเป็นเพียงสมมุติฐานเท่านั้น ยังอีกห่างไกลกับคำว่า fact) จักรวาลที่เรามองไม่เห็น คุณทราบหรือไม่ว่าสิ่งที่เรามองเห็นได้ในจักรวาล เช่น ดาวเคราะห์ ดวงดาว กาแล็กซี และแม้แต่มนุษย์เอง คิดเป็นเพียง 5% ของจักรวาลทั้งหมด? ส่วนที่เหลือของจักรวาลเป็นปริศนาขนาดใหญ่ที่แบ่งออกเป็นสองส่วน พลังงานมืด (Dark
#Space and astronomy

พบจุลินทรีย์บนหินจากดาวเคราะห์น้อย (แต่จุลินทรีย์นี้ อาจไม่ได้มาจากอวกาศ)

การค้นพบจุลินทรีย์ในตัวอย่างหินจากดาวเคราะห์น้อย ริวงู (Ryugu) ทำให้เกิดความตื่นเต้นในวงการชีววิทยาดาราศาสตร์ แม้ว่าจุลินทรีย์เหล่านี้จะมาจากโลก ไม่ใช่จากนอกโลก แต่เหตุการณ์นี้เน้นให้เห็นถึงความยากลำบากในการป้องกันการปนเปื้อนในตัวอย่างที่นำกลับมาสำรวจบนโลก รีวงู (Ryugu)หรือชื่อทางการ 1999 JU3 เป็นดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก (Near-Earth Object: NEO) ในกลุ่มอะพอลโล ซึ่งจัดอยู่ในประเภทดาวเคราะห์น้อยที่มีศักยภาพเป็นอันตรายต่อโลก (Potentially Hazardous Object:
#Space and astronomy

Chang’e-6 กับตัวอย่างหินบะซอลต์จากด้านไกลที่เก่าแก่ถึง 2.83 พันล้านปี

ภารกิจ Chang’e-6 ในเดือน มิถุนายน 2024 ที่สร้างความฮือฮาในวงการวิทยาศาสตร์โลก ได้เดินทางสู่ดวงจันทร์และเก็บตัวอย่างจากพื้นที่ด้านไกล ซึ่งเป็นดินแดนที่ยังไม่มีใครได้สำรวจอย่างลึกซึ้งมาก่อน จุดหมายปลายทางของ Chang’e-6 คือพื้นที่แอ่ง South Pole-Aitken (SPA) บริเวณด้านไกลของดวงจันทร์ ที่นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่ามีประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาอันซับซ้อนและแตกต่างจากด้านใกล้ที่หันหน้ามาสู่โลกเสมอ South Pole-Aitken (SPA) คือแอ่งขนาดใหญ่บนดวงจันทร์
#Space and astronomy

WOH G64: ภาพระยะใกล้ครั้งแรกของดาวฤกษ์ยักษ์นอกกาแล็กซี กับช่วงสุดท้ายก่อนการมอดดับ

นี่คือภาพระยะใกล้ภาพแรกของดาวฤกษ์ที่อยู่นอกกาแล็กซีของเรา นี่คือภาพของดาว WOH G64 ที่ถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์ Interferometer ขนาดใหญ่มาก ของหอดูดาวยุโรปตอนใต้ (European Southern Observatory’s Very Large Telescope) ซึ่งใช้การรวมข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์ 4 ตัวเข้าด้วยกัน ดาว WOH G64
#Space and astronomy

Rare Earth Hypothesis – โลกเราหายากและพิเศษจริงหรือ?

VDO Link : https://www.youtube.com/watch?v=CSZZB9sfIFc เราอยู่คนเดียวในจักรวาลจริงหรือ? 🤔 ลองจินตนาการว่าในกาแล็กซีทางช้างเผือกที่มีดาวฤกษ์กว่า 200 พันล้านดวง และในเอกภพที่มีกว่า 2 ล้านล้านกาแล็กซี ทำไมเรายังไม่พบสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาอื่นเลย? นี่คือคำถามที่ Fermi Paradox ทิ้งไว้ และหนึ่งในคำตอบที่เป็นไปได้คือ Rare Earth